เปรียบเทียบแนวคิดและคําสอนของศาสนาแห่งมนุษยชาติ

เปรียบเทียบแนวคิดและคําสอนของศาสนาแห่งมนุษยชาติ
Author :
Interpreter :
Publication year :
2001
Number of volumes :
1
Publish number :
ฉบับพิมพ์ครั้งแรก
(0 Votes)

(0 Votes)
เปรียบเทียบแนวคิดและคําสอนของศาสนาแห่งมนุษยชาติ
เปรียบเท ยบแนวคิดและคําสอนของศาสนาแห งมนุษยชาติ Book2เปรียบเทียบแนวคิดและคําสอนของศาสนาแห งมนุษยชาติคํานําผู จัดพิมพ มนุษย ใน ศตวรรษที่๒๑นี้กําลังก าวเข าสู ภาวะแห งการมีบทบาทเชื่อมโยงกันทั่วโลกตํารับตําราสื่อสิ่งพิมพ คอมพิวเตอร วิทยุโทรทัศน ภาพยนตร ดาวเทียมความรวดเร็วและสะดวกสบายในการเดินทางฯลฯช วยทําให ผู คนมีการติดต อและสร างสัมพันธภาพกันมากยิ่งขึ้น สิ่งหนึ่งซึ่งเป นเสมือนผลพลอยได ของการ เชื่อมสัมพันธ ของผู คนในยุคนี้นั้นก็คือการทําความเข าใจกับแนวคิดทางศาสนาและแนวคิดต างๆนั้นเริ่ม ที่จะพังครืนลงมาแล ว บรรดาผู นําศาสนาผู นําจิตวิญญาณต างก็เพียรพยายามอย างเอาจริงเอาจริงในการ เสริมสร างการทําความเข าใจซึ่งกันและกันมากยิ่งกว าอดีตที่ผ านมาผู ปฏิบัติตามศาสนาเหล านั้นก็เช นเดียวกันพวกเขาต างก็หันหน ามามีปฏิสัมพันธ อย างดีต อกันและกันและยอมรับในสิทธิแห งการมี ชีวิตอยู ร วมกันท ามกลางบรรยากาศเช นนี้การทําความเข าใจแนวความคิดยิ่งข้ึนและสามารถมองเห็น อิทธิพลอันน าทึ่งของศาสนาที่มีต อการดําเนินชีวิตของผู คน และบทบาทของศาสนาในการจรรโลง ศิลปะวิทยาการและอารยธรรมของโลกก็ยิ่งกระจางขึ้นหนังสือ“เปรียบเทียบแนวคิดและคําสอนของ ศาสนาแหงมนุษยชาติ”ที่อยูในมือของทานผูอานขณะนี้เปนผลงานทางวิชาการของชะฮีด ดร.มุฮัมมัดญะวาดบาโฮนาร อดีตนายกรัฐมนตรีคนที่๓ของสาธารณรัฐอิสลามแห งอีหร านภายหลังการปฏิวัติ อิสลามฯและนับเป นบุคลากรอันทรงคุณค าของโลกอิสลามที่พยายามเชื่อมความสัมพันธ ทางด าน วิชาการระหว างสถาบันสอนศาสนากับมหาวิทยาลัยซึ่งได รับการแปลเป นภาษาไทยโดยเชคซัยนุลอาบิ ดีนฟ นดี้นักวิชาการศาสนาที่ได รับการศึกษาศาสนาจากเมืองกุมหนังสือเล มนี้ได นําเสนอข อมูลทางด าน วิชาการอย างเรียบง ายและมีคุณค าทางด านวิชาการเหมาะสําหรับนักค นคว าวิจัยเกี่ยวกับแนวความคิดของศาสนาต างๆบริบทของหนังสือเล มนี้เป นส วนหนึ่งของการศึกษาศาสนาของประชาชาติในยุคต างๆ และในสมัยป จจุบันในเชิงเปรียบเทียบซึ่งการศึกษาค นคว าและวิจัยศาสนาเชิงเปรียบเทียบนี้จะไม มีการ ตัดสินในเชิงถูกหรือผิดแต ประการใดแต จะเป นการตรวจสอบแนวความเชื่อด วยหลักวิชาการพร อมกับ นําเสนอส วนที่เหมือนกันของศาสนาต างๆโดยจะไม มีการยืนยันหรือปฏิเสธแนวความเชื่อตามหลักการ ศาสนาอันบริสุทธิ์ของศาสนาเหล านั้น ระเบียบวิธีการศึกษาเช นนี้จะทําให ได บทสรุปว าอารยธรรมและ แนวความเชื่อทางศาสนานั้นมีส วนเกื้อหนุนซึ่งกันและกันดังเช นความเชื่อของศาสนาทั้งหลายในเรื่อง การคืนกลับ(มะอาด)จุดร วมเหล านี้เป นตัวตอกย้ําให มีการเคลื่อนย ายทางวัฒนธรรมและศาสนาต างๆผล แห งการศึกษาและวิจัยเหล านี้จะก อให เกิดการยอมรับการดํารงอยู ของมนุษยชาติการทําความเข าใจที่ มากขึ้นและดียิ่งข้ึนในหมู ประชาชาติและศาสนาต างๆเฉพาะอย างยิ่งในป นี้(ค.ศ.๒๐๐๑)ได ถูก กําหนดให เป น“ป แห งการสนทนาระหว างอารยธรรมทั้งหลาย”จากการนําเสนอของประธานาธิบดีแห ง